|
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ด้านกายภาพ
ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
ตำบลหมอนนาง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพนัสนิคมลงมาเล็กน้อย มีพื้นที่ 32,600 ไร่ หรือมีพื้นที่ประมาณ 52.58 ตารางกิโลเมตร ห่างจาก อำเภอพนัสนิคม เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสายพนัสนิคม - หนองเสม็ด - บ่อทอง
อาณาเขตติดต่อกับตำบลบ้านช้าง ดังนี้
ทิศเหนือ
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลบ้านช้าง – ตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนิคม
|
ทิศใต้
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลหนองอิรุณ อำเภอบ้านบึง
|
ทิศตะวันออก
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม
ตำบลบ่อกวางทอง อำเภอบ่อทอง
ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์
|
ทิศตะวันตก
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลทุ่งขวาง – ตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนิคม
|
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ของตำบลหมอนนาง โดยทั่วไปเป็นที่ราบปนพื้นที่ดอน และมีพื้นที่ราบลุ่มเป็นเพียงส่วนน้อย มีคลองป่าแดงไหลผ่านทำให้ฤดูร้อนอากาศไม่แห้งแล้งจนเกินไป ฤดูฝนมีฝนตกชุกพอประมาณ ส่วนพื้นที่ดอนส่วนใหญ่เกษตรกรจะตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยเป็นชุมชน บางส่วนก็ใช้ประกอบอาชีพ ทำไร่ ทำนา และปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น และเลี้ยงสัตว์
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะสภาพภูมิอากาศ สภาพอุณหภูมิและความชื้นขึ้นอยู่กับฤดูกาล ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน – มกราคม
ฤดูร้อน อากาศร้อนเป็นระยะเวลายาวนาน
ฤดูฝน ช่วงต้นฤดู หรือ เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน บางปีมีฝนตกมาก บางปีมีฝนตกน้อย ไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก และในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ส่วนใหญ่จะเป็นระยะฝนทิ้งช่วงและแห้งแล้ง
ลักษณะของดิน
สภาพดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนเหมาะแก่การเพาะปลูกพืช
ลักษณะของแหล่งน้ำ
1. คลองป่าแดง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 4 , 8 , 12
2. คลองหนองสรวง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 4 , 12
3. คลองสาลิกา หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 6
4. ห้วยตาแขวง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 6
5. ห้วยอีแขก หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 5 , 6 , 9
6. คลองบึงยาง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 5 , 6 , 1 , 7 , 9
7. คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง หมู่ 8 , 11 , 10 , 3
8. สระน้ำ หมู่ 8
หมายเหตุ
ในช่วงฤดูแล้งน้ำในลำคลองจะตื้นเขิน ทำการเกษตรไม่ได้
ในฤดูฝน บางครั้งจะมีน้ำท่วมทำให้พื้นที่การเกษตรเสียหาย
สระน้ำสาธารณประโยชน์
หมู่ที่ 2 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 3 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 4 มีจำนวน 3 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 6 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 11 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
แหล่งน้ำธรรมชาติ
คลองหนองสรวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 5 , 6 , 12
คลองบึงยาง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 8 , 12
คลองสาลิกา ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6
ห้วยอีแขก ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6 , 9
ห้วยตาแขวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 8 , 11
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้ในพื้นที่ตำบลหมอนนาง มีป่าไม้จำนวนไม่ค่อยมาก เนื่องจากพื้นที่โดยส่วนใหญ่ทำการปศุสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม ต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่จะเป็นไม้ประเภทไม้เนื้ออ่อน
ด้านการเมือง/การปกครอง
เขตการปกครอง
เทศบาลตำบลหมอนนาง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 เขต จำนวน 16 ชุมชน (12 หมู่บ้าน) ประชากร ทั้งสิ้น 13,653 คน เป็นชาย 6,624 คน หญิง 7,029 คน
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ด้านกายภาพ
ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
ตำบลหมอนนาง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพนัสนิคมลงมาเล็กน้อย มีพื้นที่ 32,600 ไร่ หรือมีพื้นที่ประมาณ 52.58 ตารางกิโลเมตร ห่างจาก อำเภอพนัสนิคม เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสายพนัสนิคม - หนองเสม็ด - บ่อทอง
อาณาเขตติดต่อกับตำบลบ้านช้าง ดังนี้
ทิศเหนือ
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลบ้านช้าง – ตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนิคม
|
ทิศใต้
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลหนองอิรุณ อำเภอบ้านบึง
|
ทิศตะวันออก
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม
ตำบลบ่อกวางทอง อำเภอบ่อทอง
ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์
|
ทิศตะวันตก
|
ติดต่อกับ
|
ตำบลทุ่งขวาง – ตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนิคม
|
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ของตำบลหมอนนาง โดยทั่วไปเป็นที่ราบปนพื้นที่ดอน และมีพื้นที่ราบลุ่มเป็นเพียงส่วนน้อย มีคลองป่าแดงไหลผ่านทำให้ฤดูร้อนอากาศไม่แห้งแล้งจนเกินไป ฤดูฝนมีฝนตกชุกพอประมาณ ส่วนพื้นที่ดอนส่วนใหญ่เกษตรกรจะตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยเป็นชุมชน บางส่วนก็ใช้ประกอบอาชีพ ทำไร่ ทำนา และปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น และเลี้ยงสัตว์
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะสภาพภูมิอากาศ สภาพอุณหภูมิและความชื้นขึ้นอยู่กับฤดูกาล ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน – มกราคม
ฤดูร้อน อากาศร้อนเป็นระยะเวลายาวนาน
ฤดูฝน ช่วงต้นฤดู หรือ เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน บางปีมีฝนตกมาก บางปีมีฝนตกน้อย ไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก และในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ส่วนใหญ่จะเป็นระยะฝนทิ้งช่วงและแห้งแล้ง
ลักษณะของดิน
สภาพดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนเหมาะแก่การเพาะปลูกพืช
ลักษณะของแหล่งน้ำ
1. คลองป่าแดง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 4 , 8 , 12
2. คลองหนองสรวง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 4 , 12
3. คลองสาลิกา หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 6
4. ห้วยตาแขวง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 6
5. ห้วยอีแขก หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 5 , 6 , 9
6. คลองบึงยาง หมู่บ้านที่ใช้น้ำ มี หมู่ 5 , 6 , 1 , 7 , 9
7. คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง หมู่ 8 , 11 , 10 , 3
8. สระน้ำ หมู่ 8
หมายเหตุ
ในช่วงฤดูแล้งน้ำในลำคลองจะตื้นเขิน ทำการเกษตรไม่ได้
ในฤดูฝน บางครั้งจะมีน้ำท่วมทำให้พื้นที่การเกษตรเสียหาย
สระน้ำสาธารณประโยชน์
หมู่ที่ 2 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 3 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 4 มีจำนวน 3 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 6 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
หมู่ที่ 11 มีจำนวน 1 สระ ประโยชน์ที่ใช้ในครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี
แหล่งน้ำธรรมชาติ
คลองหนองสรวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 5 , 6 , 12
คลองบึงยาง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 8 , 12
คลองสาลิกา ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6
ห้วยอีแขก ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6 , 9
ห้วยตาแขวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 8 , 11
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้ในพื้นที่ตำบลหมอนนาง มีป่าไม้จำนวนไม่ค่อยมาก เนื่องจากพื้นที่โดยส่วนใหญ่ทำการปศุสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม ต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่จะเป็นไม้ประเภทไม้เนื้ออ่อน
ด้านการเมือง/การปกครอง
เขตการปกครอง
ประชากร ทั้งสิ้น 13,583 คน เป็นชาย 6,581 คน หญิง 7,002 คน
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
ผู้นำหมู่บ้าน
|
1
|
บ้านสวนใหม่
|
นายพงษ์ศักดิ์ หาญประสิทธิ์สกุล
|
2
|
บ้านหนองไทร
|
นายขจร ไวดี
|
3
|
บ้านหนองพร้าว
|
นายสมหมาย ผสมทรัพย์
|
4
|
บ้านทุ่งเหียง
|
นายทศพร ลี้สกุล (กำนัน)
|
5
|
บ้านเหนือ
|
นางสาวธนพร จันทร์งาม
|
6
|
บ้านหนองยาง
|
นายชำนาญ เย็นขาว
|
7
|
บ้านเนินโรงหีบ
|
นายอาจหาญ อนุกิตติคุณ
|
8
|
บ้านดงไม้ลาย
|
นางสาวกาญจนา จุมพล
|
9
|
บ้านหมอนนาง
|
นายอนันต์ พงษ์สุวินัย
|
10
|
บ้านชุมแสง
|
นายสมบัติ พุทธิพิพัฒน์ขจร
|
11
|
บ้านหนองผักบุ้งขัน
|
นายวัชระ อินทมาพลอย
|
12
|
บ้านหนองแหน
|
นางมารศรี ดาศิริ
|
โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลหมอนนาง ประกอบด้วย
1. นายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน
2. รองนายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 2 คน
3. ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน
4. เลขานายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน
5. สมาชิกสภาเทศบาลตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน
ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 7 ตุลาคม 2564)
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวมประชากร
|
1
|
บ้านสวนใหม่
|
326
|
416
|
409
|
825
|
2
|
บ้านหนองไทร
|
396
|
637
|
667
|
1,304
|
3
|
บ้านหนองพร้าว
|
324
|
422
|
450
|
872
|
4
|
บ้านทุ่งเหียง
|
938
|
1,205
|
1,378
|
2,583
|
5
|
บ้านเหนือ
|
261
|
364
|
392
|
756
|
6
|
บ้านหนองยาง
|
216
|
472
|
494
|
966
|
7
|
บ้านเนินโรงหีบ
|
315
|
398
|
451
|
849
|
8
|
บ้านดงไม้ลาย
|
352
|
457
|
478
|
935
|
9
|
บ้านหมอนนาง
|
164
|
236
|
234
|
470
|
10
|
บ้านชุมแสง
|
442
|
726
|
773
|
1,499
|
11
|
บ้านหนองผักบุ้งขัน
|
434
|
643
|
694
|
1,337
|
12
|
บ้านหนองแหน
|
329
|
605
|
582
|
1,187
|
รวม
|
4,497
|
6,581
|
7,002
|
13,583
|
3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร
ช่วงอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
รวมประชากร
|
เด็ก (ทารก – 9 ปี)
|
735
|
665
|
1,400
|
เด็กโต (10 – 14 ปี)
|
404
|
325
|
729
|
วัยรุ่น (15 – 19 ปี)
|
413
|
403
|
816
|
ผู้ใหญ่ (20 – 59 ปี)
|
3,829
|
3,958
|
7,787
|
คนชรา (60 ปีขึ้นไป)
|
1,200
|
1,651
|
2,851
|
รวม
|
6,581
|
7,002
|
13,583
|
สภาพทางสังคม
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลหมอนนาง
ลำดับที่
|
รายชื่อโรงเรียน
|
ที่ตั้ง
|
จำนวนนักเรียน
|
อนุบาล
(คน)
|
ป.1 – ป.4
(คน)
|
ป.5 – ป.6
(คน)
|
รวมทั้งสิ้น
(คน)
|
1
|
โรงเรียนชุมชนบ้านตลาดทุ่งเหียง
|
หมู่ที่ 4
|
113
|
226
|
93
|
432
|
2
|
โรงเรียนวัดทุ่งเหียง
|
หมู่ที่ 4
|
39
|
104
|
106
|
249
|
3
|
โรงเรียนบ้านหนองยาง
|
หมู่ที่ 3
|
47
|
95
|
43
|
185
|
4
|
โรงเรียนวัดชุมแสงศรีวนาราม
|
หมู่ที่ 10
|
38
|
69
|
32
|
139
|
5
|
โรงเรียนบ้านหนองพรหม
|
หมู่ที่ 2
|
50
|
78
|
42
|
170
|
รวม
|
|
287
|
572
|
316
|
1175
|
โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง
โรงเรียนทุ่งเหียงพิทยาคม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต.หมอนนาง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหมอนนาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 9
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองยาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 3
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดนูรุ้ลฮิดายะห์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2
4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนบ้านตลาดทุ่งเหียง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดทุ่งเหียง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดชุมแสงศรีวนาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 10
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน 2 แห่ง
1. หมู่ที่ 3 บ้านหนองพร้าว
2. หมู่ที่ 6 บ้านหนองยาว
สาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 2 แห่ง
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลบหมอนนาง หมู่ที่ 4
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหมอนนาง (บ้านหนองไทร) หมู่ที่ 2
อาชญากรรม
ที่พักสายตรวจ 1 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตลาดทุ่งเหียง
ยาเสพติด
เทศบาลตำบลหมอนนางมีการป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนโดยมีเครือข่ายตาสับปะรดในการเฝ้าระวังและดูแล และยังมีกล้องวงจรปิด CCTV ในการเฝ้าระวังในจุดเสี่ยง อีกทางหนึ่ง และมีการตั้งงบประมาณไว้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
การสังคมสงเคราะห์
เทศบาลตำบลหมอนนางมีการดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์และให้บริการประชาชนผู้ด้อยโอกาสในด้านต่างๆ
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ตำบลหมอนนางมีเส้นทางการคมนาคมทางถนนซึ่งมีทั้งถนนลาดยางและถนนลูกรัง สภาพถนนลาดยางยังอยู่ในสภาพดี ถนนลูกรังมีสภาพเป็นหลุมเป็นบ่อบ้าง
การเดินทางของประชาชนส่วนใหญ่ใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นพาหนะ รถจักรยานยนต์และรถโดยสารประจำทาง
ถนนในตำบลหมอนนาง มีดังนี้
1. ถนนเนินหลังเต่า – หนองเสม็ด เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 15 กิโลเมตร สภาพดี
2. ถนนเจริญโชคดี (ถนนทุ่งเหียงเชื่อมต่อถนน 331) เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 5 กิโลเมตร สภาพดี
3. ถนนพนัสนิคม – เกาะโพธิ์ เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 12 กิโลเมตร สภาพดี
4. ถนนสายหนองแห้ง – หนองไทร เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร สภาพดี
5. ถนนสายหนองโพรง – 331 เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 5 กิโลเมตร สภาพดี
6. ถนนบ้านสวนใหม่ – หนองพรหม เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร สภาพดี
7. ถนนสายโรงน้ำตาล – วัดชุมแสง เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 6 กิโลเมตร สภาพดี
การไฟฟ้า
พื้นที่ในเขตตำบลหมอนนางมีการใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 12 หมู่บ้าน 100% ของครัวเรือนทั้งหมด
การประปา
พื้นที่ในเขตตำบลหมอนนางมีน้ำประปาใช้เองครบทั้ง 12 หมู่บ้าน การบริหารงานโดยคณะกรรมการประปาหมู่บ้านจัดเก็บและดูแลรักษาซ่อมแซมบำรุงเอง
โทรศัพท์
พื้นที่ในเขตตำบลหมอนนางมีโทรศัพท์สาธารณะจำนวนน้อยมาก ส่วนใหญ่จะอยู่ตามสถานที่ราชการมีการติดต่อสะดวกและมีคู่สายทุกหมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่จะใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ติดตามตัวเป็นส่วนมาก ประมาณ 90% ของครัวเรือนทั้งหมด
ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
พื้นที่ในเขตตำบลหมอนนางไม่มีหน่วยบริการไปรษณีย์ทั้งภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ ประชากรและหน่วยงานราชการจะใช้บริการไปรษณีย์พนัสนิคม และพื้นที่ใกล้เคียง
ระบบเศรษฐกิจ
การเกษตร
ตำบลหมอนนางมีพื้นที่ทางการเกษตรประมาณร้อยละ 10 ในการทำนาปลูกข้าว และ มีการปลูกอ้อย ซึ่งจะอาศัยน้ำตามฤดูกาลและน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติ
การประมง
ตำบลหมอนนางมีพื้นที่ในการประมงประมาณร้อยละ 10 โดยทำการเลี้ยงปลาน้ำน้ำจืด เช่น ปลานิล ปลาสวาย
การปศุสัตว์
ตำบลหมอนนางมีพื้นที่ในการปศุสัตว์ร้อยละ 50 คือการทำฟาร์มเลี้ยงหมูทั้งหมด
อุตสาหกรรม
ตำบลหมอนนางมีพื้นที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรมประมาณร้อยละ 30 ซึ่งจะมีโรงงาน ผลิตอาหารสัตว์ และโรงงานแปรรูปปศุสัตว์ โรงงานเหล็ก ฯลฯ
เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน
ตำบลหมอนนางมีทั้งหมด 12 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านสวนใหม่
หมู่ที่ 2 บ้านหนองไทร
หมู่ที่ 3 บ้านหนองพร้าว
หมู่ที่ 4 บ้านตลาดทุ่งเหียง
หมู่ที่ 5 บ้านเหนือ
หมู่ที่ 6 บ้านหนองยาง
หมู่ที่ 7 บ้านเนินโรงหีบ
หมู่ที่ 8 บ้านดงไม้ลาย
หมู่ที่ 9 บ้านหมอนนาง
หมู่ที่ 10 บ้านชุมแสง
หมู่ที่ 11 บ้านหนองผักบุ้งขัน
หมู่ที่ 12 บ้านหนองแหน
ข้อมูลด้านการเกษตร
ตำบลหมอนนางมีพื้นที่ทำการเกษตรค่อนข้างน้อยประมาณร้อยละ 10 ซึ่งเป็นการทำนาปลูกข้าว และ มีการปลูกอ้อย ซึ่งจะอาศัยน้ำตามฤดูกาลและน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติ
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
พื้นที่ตำบลหมอนนางมีแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อใช้ในการเกษตรหลายแห่ง แต่ในช่วงฤดูแล้ง น้ำในลำคลองจะตื้นเขินทำการเกษตรไม่ได้ ส่วนในฤดูฝนบางครั้งจะมีน้ำท่วมทำให้พื้นที่การเกษตรเสียหาย ซึ่งแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่มีดังนี้
คลองหนองสรวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 5 , 6 , 12
คลองบึงยาง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 4 , 8 , 12
คลองสาลิกา ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6
ห้วยอีแขก ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 5 , 6 , 9
ห้วยตาแขวง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 1 , 5 , 6 , 7 , 9
คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพื่อการเกษตร หมู่ที่ 3 , 4 , 6 , 8 , 10 , 11
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
พื้นที่ตำบลหมอนนางมีแหล่งน้ำในการใช้อุปโภค บริโภคหลายแห่ง ดังนี้
1. น้ำประปา
พื้นที่ในเขตตำบลหมอนนางมีน้ำประปาใช้เองครบทั้ง 12 หมู่บ้าน การบริหารงานโดยคณะกรรมการประปาหมู่บ้านจัดเก็บและดูแลรักษาซ่อมแซมบำรุงเอง
2. สระน้ำสาธารณประโยชน์
หมู่ที่ 2 มีจำนวน 1 สระ
หมู่ที่ 3 มีจำนวน 1 สระ
หมู่ที่ 4 มีจำนวน 3 สระ
หมู่ที่ 6 มีจำนวน 1 สระ
หมู่ที่ 11 มีจำนวน 1 สระ
3. แหล่งน้ำธรรมชาติ
คลองหนองสรวง
คลองบึงยาง
คลองป่าแดง
คลองสาลิกา
ห้วยอีแขก
ห้วยตาแขวง
คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
พื้นที่ตำบลหมอนนางประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก และมีศาสนาอิสลามปะปนบ้างบางส่วนสถานที่ประกอบศาสนกิจดังนี้
วัด จำนวน 4 แห่ง
มัสยิด จำนวน 2 แห่ง
ประเพณีและงานประจำปี
เทศบาลตำบลหมอนนางมีการส่งเสริมงานประเพณีและงานประจำปีโดยมีการจัดงานประเพณีลอยกระทง และเทศบาลตำบลหมอนนางยังส่งเสริมงานประเพณีประจำท้องถิ่น เช่น ประเพณีวิ่งควาย และประเพณีทำบุญกลางบ้านของแต่ละหมู่บ้าน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ตำบลหมอนนางมีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบต่อกันมา ได้แก่ ผลไม้ดินปั้น
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าทางการเกษตร สินค้าจากการปศุสัตว์ และผลไม้ดินปั้น
ทรัพยากรธรรมชาติ
น้ำ
ในพื้นที่ตำบลหมอนนางมีทรัพยากรน้ำทั้งที่สร้างขึ้นเองและจากแหล่งน้ำตามธรรมชาติ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นได้แก่ ระบบประปาหมู่บ้าน และแหล่งน้ำตามธรรมชาติได้แก่ ห้วย คลอง ต่างๆในพื้นที่ตำบลหมอนนาง
ป่าไม้
ตำบลหมอนนางไม่มีพื้นที่ป่าไม้ เนื่องจากส่วนใหญ่จะมีการทำการเกษตร ปศุสัตว์ และเป็นพื้นที่ทำโรงงานอุตสาหกรรม
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ตำบลหมอนนางเพียงพอและเหมาะกับการทำการเกษตรและทำการเลี้ยงสัตว์
|
|
|
|